MASJiDTHAi.COM

หน้าหลัก มัสยิดและสัปปุรุษ กระบี่ชุมพรตรังนครศรีธรรมราชนราธิวาสประจวบคีรีขันธ์ปัตตานีพังงาพัทลุงภูเก็ตยะลาระนองสตูลสุราษฎร์ธานีเชียงใหม่ระยอง
กอจ. ภูเก็ต มัสยิดและสัปปุรุษ

มัสยิดลีวาอุ้ลอิสลาม (บ้านบางชีเหล้า) ทะเบียนเลขที่: 015

หมู่ที่: 2 แขวง/ตำบล: รัษฎา เขต/อำเภอ: เมืองภูเก็ต จังหวัด: ภูเก็ต 0816937971
ประวัติความเป็นมาฯ
  The history of Masjid Livaaul Isalam  (Baan Bangcheelao) The former name of Masjid Livaaul Isalam, was Masjid Baan Bangcheelao, which was established in B.E. 2493 (H.E.1272). Formerly, it was a rubber land, which donated by Mr.Mamhood Billabdulah (Hadyee Mamhood). It is located at Moo.2 Soi Bangcheelao Tumbol Rassada, Amphoe Muang Phuket. Later, the building was renovated in the goverment of M.R. Kukrit Pramoj (as a Prime Minister) with the budget 80,000 baht in B.E. 2518 (H.E.1297). In B.E. 2544 (H.E. 1321), the name was changed to Masjid Livaaul Isalam, the Masjid’s registration number is 15 Moo.2 Tumbol Rassada, Amphoe Muang Phuket. Masjid’s deed number is 80784, its area 417.6 square metres, derived from Sariya Property Co.,Ltd on 11 November B.E. 2548 (H.E.1326). This is the chornicle of Isalamic priest or Imams in Masjid Livaaul Isalam (Masjid Baan Bangcheelao) ● B.E. 2493-2515: Imam Bao Manabuth/ Hadyee Mamhood Billlabdulah (Kortheb)/ Mr.Sawaeng Chueachit (Bilhan) ● B.E. 2515-2547: Imam Umark Chueachit/ Mr.Kasem Chueachit (Kortheb)/ Mr.Eab Khontong (Bilhan)  ● B.E.2547-2549: Imam Arnon Changlhek/ Mr. Somdet Mhunkan (Kortheb)/ Mr.Kasem Billabdulla (Bilhan) ● B.E.2549 – present: Imam Somdet Mhunkan/ Mr.Kasem Billabdulah (Koktheb)/ Mr.Danai Dada (Bilhan).   Currently, we also provide Bangcheelao Islamic Ethics School for children and adult in community. The history of Bangcheelao village Baanbangcheelao village is located at Tumbol Rassada, Amphoe Muang Phuket, far from city center around 5 kilometers, established for more than 100 years (known as Baanbangjilao). Former times, the majority areas were a rubber land. So, there were a lot of migrators evacuated here for rubber tappers. Later, the cholera spread out to the village and this caused many people died. So, elder people in the village told that, to take parsley mixed with liquor could be curable from the disease, so that we called Baanbangcheelao until now. Recently, the government has assisted local people by providing knowledge and support career, such as providing knowledge how to do bakery, how to grow herb plants or organic plants. Major occupations are employees and merchandizes, who are Buddhist and Islam. The general habitation of Baanbangcheelao can be separated into traditional houses, which has a good architecture and rental house for those whom do not have an own house. Identity of Baanbangcheelao  Merchandising  and service community Vision Good economic, cozy family, quality people and potential of leadership would lead to sustainable community. มัสยิดลีวาอุ้ลอิสลาม มีชื่อเดิมว่า มัสยิดบ้านบางชีเหล้า เริ่มก่อสร้างเมื่อ ปี พ.ศ.2493 (ฮ.ศ.1272) ซึ่งมี นายม่ามูด บิลอับดุลล่าห์     (ฮัจยีหมูด) เป็นผู้อนุญาตให้สร้างในที่ดินของตน (ซึ่งที่ดินเป็นสวนยางพาราในขณะนั้น)  ตั้งอยู่ภายใน หมู่ที่ 2 ซอยบางชีเหล้า ตำบลรัษฎา อำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต  และต่อมา เมื่อปี พ.ศ.2518 (ฮ.ศ.1297) ได้ดำเนินสร้างมัสยิดหลังใหม่ โดยใช้เงินงบประมาณ สมัยท่าน หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรี ซึ่งสมัยนั้น เรียกว่า เงินผัน เป็นจำนวนเงิน 80,000.-บาท และเมื่อปี พ.ศ. 2544 (ฮ.ศ.1321)ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น มัสยิดลีวาอุ้ลอิสลาม เลขทะเบียนมัสยิดที่ 15 หมู่ที่ 2 ตำบลรัษฎา อำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต มัสยิดมีโฉนดที่ดิน เลขที่ 80784 เลขที่ดิน 181 มีเนื้อที่ 1 งาน 4.4 ตารางวา  ซึ่งที่ดินดังกล่าว ได้รับมอบจาก บริษัท สาริยา พร๊อพเพอรตี้ จำกัด เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน  2548 (ฮ.ศ.1326) ซึ่งมีรายนาม อิหม่าม และผู้นำมัสยิด ดังต่อไปนี้                   1. อิหม่ามบ่าว  มานะบุตร / ฮัจยีหมูด บิลอับดุลล่าห์ (คอเต็บ) / นายแสวง  เชื้อชิต (บิหลั่น) พ.ศ. 2493-2515                   2. อิหม่ามอุหมาก  เชื้อชิต  /  นายเกษม  เชื้อชิต (คอเต็บ) / นายเอบ  คนตรง (บิหลั่น) พ.ศ. 2515-2547                   3. อิหม่ามอานนท์  ช่างเหล็ก / นายสมเดช  หมั่นการ (คอเต็บ) / นายเกษม  บิลอับดุลล่าห์ (บิหลั่น) พ.ศ.2547-2549                   4. อิหม่ามสมเดช  หมั่นการ / นายเกษม  บิลอับดุลล่าห์ (คอเต็บ) / นายดนัย  ดาดา (บิหลั่น) พ.ศ.2549-ปัจจุบัน  และปัจจุบันมีศูนย์อบรมศาสนาอิสลามและจริยธรรมบ้านบางชีเหล้า ซึ่งเป็นสถานที่สำหรับให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในชุมชน และพื้นที่ใกล้เคียง ใช้เป็นที่ศึกษาทางด้านศาสนาและจริยธรรม โดยศูนย์ฯดังกล่าวตั้งอยู่ภายในพื้นที่ของมัสยิด       ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านบางชีเหล้า     บ้านบางชีเหล้าตั้งอยู่ในตำบลรัษฏา อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต เป็นหมู่บ้านที่ตั้งมานานกว่า 100 ปี (เป็นที่รู้จักของบุคคลภายนอกว่า บ้านบางจิเหล้า) โดยในสมัยก่อนบ้านบางชีเหล้า มีสภาพเป็นพื้นที่สวนยางพาราเป็นส่วนใหญ่ และได้มีคนต่างถิ่นอพยพเข้ามาประกอบอาชีพรับจ้างกรีดยางจำนวนมาก ต่อมาได้เกิดโรคระบาด อหิวาตกโรค ขึ้นในหมู่บ้าน ชาวบ้านเกิดล้มป่วยตายด้วยโรคดังกล่าว และได้มีผู้เฒ่าผู้แก่ในหมู่บ้านบอกให้เอาต้น ผักชีดองกับเหล้า ให้ผู้ป่วยกินปรากฏว่าโรคที่เป็นอยู่ได้หายไป จึงได้ขนานนามหมู่บ้านนี้ว่า “บ้านบางชีเหล้า” เป็นต้นมา  ปัจจุบันทางราชการได้เข้ามาส่งเสริมอาชีพให้กับชาวบ้านทำขนมต่างๆ ปลูกพืชสมุนไพร ปลูกผักปลอดสารพิษ จนเป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไป บ้านบางชีเหล้าตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะภูเก็ต ห่างจากตัวอำเภอเมืองภูเก็ต เป็นระยะทางประมาณ 5 กิโลเมตร  ประชากรส่วนมากมีอาชีพรับจ้าง รองลงมาจะเป็นอาชีพค้าขาย นอกจากนั้นก็มีอาชีพอื่น ๆ  ชาวบ้านส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ รองลองมาก็คือ ศาสนาอิสลาม      สภาพบ้านเรือนของชาวบ้านบางชีเหล้าโดยทั่ว ๆ ไปแบ่งออกได้สองลักษณะ อย่างแรกคือแบบชาวบ้านดั้งเดิม บ้านเรือนแบบนี้จะถูกสร้างอย่างมั่นคงถาวร มีการจัดแบบบ้านและบริเวณบ้านบริเวณสวนอย่างถูกลักษณะเป็นครอบครัวใหญ่อยู่กันพร้อมหน้าอย่างอบอุ่น ส่วนลักษณะที่สอง สภาพที่อยู่อาศัยเป็นลักษณะห้องแถวสำหรับผู้ที่เข้ามาเช่าอาศัยหรือผู้คนบางส่วนบุกรุกที่ดินสร้างบ้านเรือนอย่างถาวรจัดบ้านมีระเบียบถูกต้องตามสุขลักษณะ       อัตลักษณ์หรือความเป็นตัวตนของชุมชน คือ “เป็นชุมชนค้าขายและบริการ”      วิสัยทัศน์หมู่บ้าน        “เศรษฐกิจดี ครอบครัวอบอุ่น ประชาชนมีคุณภาพ ศักยภาพของผู้นำก้าวหน้า นำพาชุมชนสู่ความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน” Sejarah  ringkas  Masjid  Liwa ul  islam baan bang chilau                 Masjid  Liwa ul  islam pada  asalnya nama  Masjid baan bang chilau. Di asas pada tahun 1950 M (1272 H) telah di izin oleh haji Mahmud bin Abdullah (Haji Mud) sepaya bina di tanahnya sendiri ( semasa itu tanahnya sebagai kebun getah) terletak di M.2  lurung  Baan bang chilau  Mukim Rasda  Daerah Muang  Wilayah Phuket.                Pada tahun 1975  M (1297 H) telah di bina sebuah masjid yang baru dengan menguna belajaan dari kerajaan 80,000 kub. Semasa ibu seni Kukrit pramot menjadi perdana menteri. Pada tahun 2001  M (1321 H) telah di tukar nama menjadi “Masjid  Liwa ul  islam” di pendaftaran yang ke 15 No 2  Mukim Rasda  Daerah Muang  Wilayah Phuket dengan tanah sertipikat 80784 Number tanah 181 seluas 1 nga  sebanyak 4.4 meter persegi. Sebidang tanah itu di khidmad oleh Syarikat  Sariya propperti berhak pada tanggal  11 November  2005                 (1326 H)        Nama   pentadbiran dan imam masjid berikut. 1. Imam Bau  Manabut ,  Haji Mud  bin  Abdullah (Khatib) , Saweang Cheachit (Bilal) 1950-1972 M 2. Imam Umark  Cheachit  ,  Kasem  Cheachit  (Khatib) ,  Ib  Konterung  (Bilal)   1972-2004 M 3. Imam Anun Changlek ,  Somdech  Mankann (Khatib)  , Kasem bin  Abdullah  (Bilal) 2004- 2006  M 4. Imam Somdech Mankann ,  Kasem bin  Abdullah  (Khatib)  , Denai Dada (Bilal)   2006  hingga segarang. Masjid telah mengadakan markaz didikan kanak pemuda Islam didalam kampong Baan bang chilau. Sejarah  kampong  baan bang chilau             Baan bang chilau terletak di mukim Rasda  Daerah muang  Wilayah Phuket  adalah salah satu kampung yang tertua lebih dari 100 tahun telah terkanal kampung ini bagi orang luar dengan nama  “ Baan bang ji lau “ sewasananya kebanyakan kebun getah adapun  penghuni kampung kebanyakan dari orang-orang asing. Datang menjadi sebagai koli menurih getah. Setelah itu ada timbul satu penyakit toun di dalam kampung ini membuat penduduk sakit demam akhirnya sampai kematian disebabkan oleh penyakit tersebut. Setelah dimakian itu ada orang tua di dalam kampung menyuruh supaya mengabil puhun ketumbar jerut dengan alkohol. Selepas itu di beri makan kepada  pesakit itu minum Akhirnya sembuh. Sebab inilah kampung ini panggil nama  “Baan bang chilau”           Buat masa sekarang pihak kerajaan telah memberi sungkongngan supaya penduduk kampung menanam tumbuhan dan herba serta sayur-sayuran untuk menjadi hasilan harian sehingga terkenal di serantau tempat. Kebanyakan penduduk dikampung ini berugama Budda dan Islam. Vision    Ekonomi panas keluarga yang baik kualiti pontensi kepimpinan progressive membawa kepada masyarikat yang lebih kuat dan lebih mampan. Kecurian identiti adalah masyarikat  perdagangan dan khidmat. more
แผนที่นำทาง Google Map

กรรมการมัสยิด

อิหม่ามสมเดช หมั่นการ

อิหม่าม

นายเกษม บิลอับดุลล่าห์

คอเต็บ

นายดนัย ดาดา

บิหลั่น

นายจรัล นันทบุตร
เลขานุการ
นายมิตรภาพ มาหะมะ
นายทะเบียน
นาย
เหรัญญิก
นาย
ฝ่ายการศึกษา
นายโกมล โต๊ะเหมาะ
ฝ่ายวิชาการ
นายสมศักดิ์ เชื้อชิด
ฝ่ายฮาลาล
นายอดุลย์ หวันมุดา
ฝ่ายซะกาติและสังคมสงเคราะห์
นายวิรศักดิ์ ร่าหมาน
ฝ่ายประชาสัมพันธ์
นาย
ฝ่ายอาคารสถานที่
นายหร่อเหม มาดสม
ฝ่ายประสานงาน
นาย
ฝ่ายกิจกรรมพิเศษ
นาย
ฝ่ายสตรีและเยาวชน

สัปปุรุษ

ข้อมูลสัปปุรุษ ครอบครัว ชาย หญิง รวม
สัปปุรุษ ณ ปัจจุบัน 122 211 197 408
สัปปุรุษในเขต 93 187 183 370
สัปปุรุษนอกเขต 29 24 14 38
สัปปุรุษเข้ารับอิสลาม 0 0 0 0
สัปปุรุษย้ายเเข้าจากมัสยิดอื่น 0 0 0 0
สัปปุรุษเสียชีวิต 7 6 4 10
สัปปุรุษย้ายออกไปมัสยิดอื่น 2 3 1 4
สัปปุรุษจำหน่ายออกจากระบบ 1 1 0 1
มัสยิดลีวาอุ้ลอิสลาม (บ้านบางชีเหล้า)
ที่ตั้งเลขที่: ทะเบียน 15 หมู่ที่: 2 ถนน/ตรอก/ซอย: ซอยบางชีเหล้า ถนนเทพกระษัตรีย์ ตำบล/แขวง: รัษฎา
อำเภอ/เขต: เมืองภูเก็ต จังหวัด: ภูเก็ต รหัสไปรษณีย์: 83000 เบอร์โทรศัพท์: 0816937971
จำนวนผู้เข้าชม: 8,210